สะกุไร (๕๘๘)

สะกุไร น. เป็นคำศัพท์ ที่แปลงมาจาก คำเรียกเครื่องมือทางช่าง ว่า “สะกุไร” คือชื่อคำเรียก เหล็ก ที่เป็นอุปกรณ์ ไขหัวน็อต อย่างจำพวกประแจนั้น หรือว่า พวกชื่อกุญแจนั้น ๆ แต่ว่า จงได้พากันเรียกว่า “ไขควง” เมื่อนั้นแล้ว ได้เรียกว่าไขควงแล้ว ในเวลาต่อมา, นักเครื่องกล เครื่องไม้ นิยมกันนัก เป็นชื่อตามแผนกช่างที่มักใช้งานเป็นกุญแจไขหัวน็อต พวกตัวเกลียวปล่อย เกลียวเจาะ เป็นต้น และถึงหัวน็อตอย่างอื่น ๆ ประเภทอื่น ก็มีไขควง ตามประเภท นั้น ๆ ทุก ๆ แห่ง, เมื่อใดได้มีการใช้งานแล้ว ใช้เรียก เป็นคำเลียนเสียงมาจาก คำว่า “สะกรีวไดรฟ์” เมื่อตกแก่การณ์ลงมา คนจะเรียกเป็นภาษาไทย คนทั่ว ๆ ไปเห็นว่า การอ่านอย่างต่างประเทศของเขาไม่ถูก เพราะจะให้ทำการณ์ได้ช้า ฉะนั้น คนที่จะทำงานถนัด จึงควรเรียกไปตรง ๆ ให้ถูกปาก ถูกใจ ตรงความถนัด เต็มที่กับการทำงานสะดวก ให้แล้วเสร็จ จบลงไปตามภาษาในภาคพื้นแถบนี้ เพื่อเป็นความดีต้องบอกให้ได้, จึงให้เขาเข้าเรียกกันต่อไปว่า อุปกรณ์ ชนิดไขหัวตะปู คือของจำพวก “ไขควง” ที่จะต้องความกัน ประกอบกับการใช้งานแบบนี้ แก่น็อตหรือตะปูแบบนั้น ๆ จงให้เรียกชื่อ ว่า “สะกุไร” ไปตามแต่ถนัด, แต่ครั้งว่าถึงเวลาออกเสียง บ้างก็ยังว่าไม่ตรงพอดี เรียกไม่ค่อยจะถนัดอยู่ แล้วจึงมักเรียกชื่อ บอกกันต่อไปว่า “สะกุไล” อย่างนี้ก็มี
ตัวอย่างการใช้งาน : เช่น ถามว่า “มีน็อตที่ต้องใช้สะกุไรหัวแฉกไขอยู่กี่ตัว ? แล้วจะต้องเอาไปกี่ตัว ?” ตอบว่า “ได้มีน็อตหัวแฉก 2 ตัว และยังต้องเอาไปอีก จำนวน 5 ตัว”
ที่มา : การอ้างอิงตามประเภท นักศึกษาพึงเสิร์ชหาข้อมูล จากสารานุกรมไทย บ้างก่อน ในฉบับกาญจนาภิเษก จากจำพวกเรื่อง ส่วนประกอบหุ่นยนต์ และงานวัสดุ นั้น ๆ จะได้พบคำว่า น็อต (nut) และคำว่า สกรู (screw), พบได้ทั่วไป หาไม่ยาก ปรากฏเป็นคำศัพท์จำเป็นทั่วไป มากอยู่ เช่นฉะนั้น, คงเพียงแต่ในที่นี้ เพียงแต่ในราชบัณฑิตเรา ราษฎรเราพึงควรหาศัพท์มาแจ้งไว้ ต่อบททางการศึกษาของไทย ของเราปัจจุบันนี้เท่านั้น พบว่า ยังไม่พบเห็น ให้มีคำจำพวกนี้ ให้ทุกคนไว้ได้ใช้กันอย่างถูกต้อง

0 comments:

แสดงความคิดเห็น