skip to main |
skip to sidebar
กังวาล ว. แปลว่า ความมีกังวาลเปล่งออก เกิดขึ้น ซึ่งเสียง คือว่าสุรเสียง อย่างดี มีกลมกล่อม นั้น เสียงดี เสียงดัง ใส มีกังวาล สะเทือน สะท้อนไปได้ไกล ดังนี้ จึงควรว่า คือ คำคุณศัพท์วิเศษ แล้วก็จึงว่า เสียงนั้นที่เกิดสั่นสะเทือน สะท้อนไปในทางลึก แลทางกว้าง ได้ยิน ว่าเสียง มีความก้องกังวาล มีความไพเราะจับใจ เป็นต้น, ความ โดยมากกล่าวแก่ เสียงระฆังฉะนั้น ว่าดังกังวาล และว่าเสียงพระตถาคตเป็นต้น ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีพระสุรเสียงไพเราะ มีความกังวาล
ตัวอย่างการใช้งาน : เหตุผลตัวอย่าง ก็ต้องว่าแค่เก่า อย่างเก่า ฉะนั้น เพราะว่าเพ่งเล็งแต่จะปรับปรุงให้ดีขึ้น คือได้เห็นคำที่ใช้เป็นปรกติดีแล้ว แต่ราชบัณฑิตเรา อาจจะยังค้างคาความอันเดิม เป็นที่เดิมอยู่ไม่เติมประโยชน์เข้ามาให้ทุกคนได้ใช้, เพราะยังไม่ยอมเห็นด้วย และยังไม่ให้ใช้ไปตามปรกติอย่างเขา ที่ซึ่งมีความตื้นลึก และมีความละเอียด ยิ่ง ๆ ไปมากยิ่งกว่าแล้ว จวนแทบจะ ทุก ๆ แห่ง, เช่นนี้ เราท่าน ทุกคน จึงควรแจ้งเข้ามาให้ เพื่อให้บริบูรณ์ เพราะกลัวว่าจะเกิดผลเสีย เพราะคำที่เขียนไปได้หลายแบบหลายอย่าง กลับว่าแค่อย่างเดียว รังแต่ จะให้คนพาลมากำหนดให้เป็นคำผิดไปทั้งหมด ทั้งนั้น ไปได้, เป็นเพราะแต่ว่า ชื่อว่า เป็นคำผิด เมื่อ เป็นถึงผิด!นั้น ก็ย่อมชื่อว่า จะไม่เป็นผลดี ว่าผิด!ใด จะให้เกิดขึ้นแก่ใคร ก็จะต้องไม่ดีทั้งนั้น ทั้งสิ้น, ซึ่ง ตัวอย่างของการใช้งาน มีปรากฏอยู่แม้ในพระไตรปิฎก ก็ว่ากังวาล! และเป็นการดูธรรมดามาก จึงไม่ควรที่ราชบัณฑิตทั้งปวงจะพลาด กล่าวแก้ แก่ทางของศัพท์ ที่คนพาลจะอ้างแต่ว่า “คนอื่นเขียนผิด! แต่ว่าตนเองเขียนถูก” ซึ่งเป็นการจำกัดท่าที แสดงออกความแต่แค่ว่า การศึกษาของคนอื่น ๆ เป็นของชั้นเลว, ฉะนั้น ข้าพเจ้าถึงขอแจ้งว่า คำใดที่ควรจะเขียนหนักเบา อาจแสดงไว้ได้หลายแบบ มีแล้ว เช่นนั้น ก็พึงจะเขียนบอกว่า เขียนได้หลายแบบ หลายอย่าง ดีงาม, ซึ่งก็ควรที่ทุกคนเราผู้ดูแลรักษา ให้เกิดการใช้งาน จะเก็บไว้ให้ครบทุก ๆ แบบ ทุกอย่าง ตามบทจริตคิดชอบที่ประณีต ต่างกัน ของประชาชนทั้งปวง ในชาติไทยของเรา, ถึงคราว เมื่อใด ราชบัณฑิตว่าเขียนได้หลายแบบ ทุกคนก็จะได้ไม่แพ้แก่พาล และก็จะได้ไม่แพ้แก่พวกใด ๆ เช่นนั้น ที่เขาแค่จะต้อนเอาความ แต่ว่า ต่อว่ารำคาญ ว่า ทุกคนอย่าได้ให้เขียนคำผิดออกมา, เรื่องเช่นว่าดังนี้ เป็นความจริง และเป็นคำมีใช้ ปรากฏที่ใดบ้าง มิใช่ว่าเราท่านทุกคนจะต้องอ้างไปที่พระไตรปิฎกเท่านั้น จึงจะพอแก่ความ, ถึงแต่สำคัญ ไปในทางที่ดีที่สุด ควรแค่หากว่า คำศัพท์ใด ชื่อใด อะไร? เป็นความงอกเงย เป็นการเอื้อนเอ่ย ออกภาษา สร้างศัพท์ให้ดียิ่งขึ้น จากทั่วยุคสมัยนั้นที่แล้ว มาจนถึงตัวบทสุจริตคิดชอบแก่สมัยนี้ ราชบัณฑิต ก็ควรจะประกาศให้มีให้ใช้ ให้ทุกคนได้มี ได้ใช้ จะไม่ใช่ว่า แต่เรา ไม่ได้อ้างจากพระไตรปิฎกแล้ว ก็เลยไม่มีคำดี ๆ อะไรใช้ และไม่มีคำดี ๆ อะไร ๆ จะพูด จะเขียนถึงกันได้เลย
ที่มา : ตรวจ จะพบได้ในพระไตรปิฎก องค์พระเถราจารย์ ว่าแสดงถึง บรรยาย ในพระสุรเสียง ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ว่า “กังวาล” เป็นอาทิ แล้ว กว่านั้น คำนี้ตามดูได้ ในฉบับหลวง ปรากฏอยู่ใน เล่ม ๑๓, ๒๖ แล ๒๙ ในฉบับ ของพระมหามกุฏ ดูจาก เล่มที่ ๑๒, ๒๑, ๔๕, ๕๓, ๕๔, ๖๔, ๗๒, และ เล่มที่ ๗๓, ในศัพท์ข้อนี้ ใครว่ารู้ดีด้วยภาษาไทย ท่านทั้งปวงจงตามให้หาดูก่อนได้ ว่าไปทุก ๆ คน ว่าได้จงเสิร์ชหาความดูเถิด ก็จะได้เห็น การมีปรากฏมาให้ได้ดู ให้รู้ด้วยทั้งหมด ทั้งนั้น
0 comments:
แสดงความคิดเห็น