skip to main |
skip to sidebar
อินทรี-อินทรีย์ น. คำควรจะว่า เป็นคำนามวิเศษ กล่าวแก่นรชาติ ชาย หญิง ทั้งปวง อันกาย คือวาโย ว่า มีลมอายุนั้น ยังแล่นอยู่ อันจะพึงเสริญ เสริมกันกับกำลัง ตามกองธรรมแก่อันใด ประกอบแล้วสมบูรณ์ไปกับหน้าที่ ว่านั้นเป็น อินทรีย์ หากเข้าเตือน, คำว่า เป็นคำมาจากบาลี ทั้งปวง ทั้งสิ้นจะให้พึงแลถึงความสำเหนียก ว่า เป็นอย่างอินทะ องค์จอมเทพ ผู้ทรงเป็นพระอริยะ ฉะนั้น
ตัวอย่างการใช้งาน : เมื่อ ประณามคำเปรียบ อย่างใจจะคิด ตนคิดในธรรม ธรรมคิดในตนเห็นว่า การที่คนมองลงไปในน้ำที่ใส ๆ แล้วเห็นทุกอย่าง เรียกว่านั้น เป็นเงาตื้น ถึงจะได้ “อินทรีย์” หรือเป็นทางเสียงว่า “อินทรี” เป็นคำพ้องเสียง กล่าวเสียงเดียวกัน หมายไปถึงสกุลสัตว์พวกสกุณา สัตว์พวกแล่นเวหา เหินหาว เป็นอย่างเจ้าวิหค นกบิน, ใจใครใคร่ไปถึงพฤติกรรม เช่นนั้น ว่า ใครมีใจใส ใครมีพฤติกรรมตนประพฤติสุจริตโปร่งใส ก็นับถือ หมายถึง มีอินทรีย์ อันความหมายเป็น ที่ซึ่ง ใจให้ได้เกิดแก่ความรู้สึก ไปกับคำว่า “อินทรี” แล้วก็ด้วย นั้นเพราะว่า เป็นคำพ้องเสียง เสียงเหมือนกัน ว่า “อินทรี” (จด ย อักษร ที่สุดอักษร ลงการันต์) พิจารณาแล้ว เช่นนั้น นั่นก็ “อินทรีย์” ก็จะต้องแปลว่า ร่างกาย! ครั้งจะบทขึ้น พิจารณา, การคิด พิจารณาคำนี้ หากว่าสั้นเข้า ก็ต้องว่าอินทร์ นั่นแหละ ใจว่า “อินทะ” คงเฉพาะแต่ รี ๆ ขวาง ๆ อาจจะยังไม่ได้ดี ก็จึงอาจจะว่าไปถึงสกุลของนกก่อน จำพวกสกุณา ตามแต่เมื่อมากเหตุ มีการณ์จะแทนศัพท์ ไปหลายเรื่องแล้ว คำเดียวก็ยืดยาวไปมากเท่านั้น เท่ากับเรื่อง และเหตุผลไปตามเหตุการณ์ จึงว่า การที่คนเรามองลงไปในน้ำที่ใส ๆ แล้วเห็นทุกอย่าง นั่นแหละ ให้ควรเรียกว่า เป็น อินทรี, ถึงต้องมีบท มีพฤติกรรม ใครก็ตาม มีใจใส คือ มีประพฤติสุจริตโปร่งใส ก็ควรให้ความหมายจรด หมายถึง มีอินทรี แล อันความซึ่ง ให้เกิดแก่ อินทรี, อินท์ (อินทรา), หรือ อินทรีย์ เมื่อได้เป็นแล้ว ว่า คำพ้องเสียงนั่นเอง ว่า อินทรีย์ ฉะนั้น ก็ควรต้องแปลว่า “ร่างกาย”
ที่มา : “...อันพระนครทั้งหลาย ก็เหมือนกับกายสังขาร กษัตริย์คือจิตวิญญาณ เป็นประธานแก่ร่างอินทรีย์...” บทพระราชนิพนธ์ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑
0 comments:
แสดงความคิดเห็น