นิคม (๘๒๐)

นิคม น.
หมายถึง ถ้อยความ แสดงคติ บทบอกธรรมะ หรือความอัน บอกบทรจนาท อรรถคดี อันพอจะตราตรึง หรือจำพวกที่ได้เค้าความ ปรากฏถึงดีแล้วบ้าง ในทางที่จะพิจารณา คิดค้นให้จับจิต หรือว่า จะให้ผลิประโยชน์โภชผล ในทางเจริญ ได้ต่อไป ถ้อยคำ แสดงความกล่าว คำบอกมาด้วยประโยค ตามอธิบายเช่นนั้น เรียกว่า “คำนิคม” หรือ นิคมคาถา, คือว่าชนิดนี้ ก็คือความหมายของ “นิคม” ด้วยเพราะลักษณะ, ด้วยว่า คำใด จะพอให้ได้อิงอรรถอิงธรรม ปรากฏมา ให้ได้การดำริตริตรอง ให้ได้เค้าโครง เป็นทางออก ซึ่งว่าออกเรื่อง ว่าได้ จะเป็นทางกล่าวประพันธ์ให้ได้สารูปมาแล้ว ก็ตาม หรือจะเป็นการกล่าวตรงไปตามสัจจะก็ตาม น้อย แลมาก ให้ตามเห็นเค้าลางไปในทางที่จะสรุปได้, นั้น นิคม เช่นนั้น เป็นอันแปลว่า ถ้อยความ เป็นคำ เป็นบทที่แสดงฉะนั้น หรือประโยค เช่นนั้น เป็นความว่ากล่าว ชื่อ “คำนิคม” เรียกว่า “คำนิคมคาถา” ตามความหมายของบทกถาจารึก ตามบท กถาจารย์ อันนั้น ๆ มา นั่นเอง, ซึ่งจะให้แปลว่า เป็นบ้านเป็นเรือน เป็นเมือง เป็นชุมชน อะไรไปซะทั้งหมด ยังไม่ใช่
นิคม -.
ซึ่งบัณฑิต เรานั้น หรือจำพวกผู้ใฝ่รู้ เช่นอย่างเรานั้น ควรได้รู้เป็นลำดับสำคัญ ไล่เรียง มาทั้งหมด เป็นทีหนึ่ง ก่อน, ดังความว่า ต่อไปนี้ เป็นความหมาย ต่อไป อันศัพท์ ว่า นิคม! จะต้องคือ คำกล่าว ความ คำตะล่อมกล่าว คำกล่าวเข้าใจง่าย เป็นอย่างหนึ่ง ได้ว่า คำนิคม ซึ่งจำพวกคำอันกล่าวจากกถา มาด้วยนิทาน กับบทจากพระอนุศาสน์ เป็นพอสังเขป ได้แล้ว ฉะนั้น อย่างหนึ่งก็ให้กล่าวกันว่า คำนิคม เป็นที่ยกขึ้นแสดง เป็น นิคม! ได้ชื่อว่า “นิคมคาถา” นั้น ๆ แล, ต่อมานั้น เป็นชื่อ เมื่อพ้นจากบัตรหมาย ความขยาย สังเขปจำกัด ความหมายบอกกันไปทางหนังสือ, อันนอกไปจากชนิดคำ ทางตำราหนังสือ เมื่อไม่แทนความหมายทางหนังสือ ย่อมให้แปล โดยทั่ว ๆ ไป ว่า ชนบท ในประเทศ ตามตำบลเมือง อันเป็นสถานที่จัดตั้งกันได้ อยู่กันแล้วหลาย ๆ เรือน หลายบ้าน หลายคน มีตัวอาคารหลายบ้านร้านค้า เป็นที่อาศัย เป็นย่านหนึ่ง เป็นเมือง มีชุมชนเกิดขึ้น ตั้งขึ้นเรียงราย ประกอบกันเป็นหมู่ สิ่งของก็มีมากมายแก่หมู่ชน และประชาชน ได้รวมเป็นสังคมสำคัญขึ้น แลดูออกจะใกล้สำคัญแล้ว ย่อม ชื่อว่าเป็นนิคม! ตามที่อยู่นั้น ๆ บ้างก็แปลว่าเป็นเขตทางการทหาร จะต้องว่า ด้วย “นิคม” เฉพาะเป็นเขตบ้าน แล้วว่ารวมกันเข้ามา จึงว่า “คาม นิคม”, จะให้พอความหมายกัน ก็จงจบ รู้ตลอดความ ไปเช่นนั้นเถิด เดี๋ยวนี้ ปัจจุบัน จะคง แต่แค่เป็นนัย ตามแต่ที่แท้จริง ๆ ต้องว่ากันทั้งหมด เพราะเกี่ยวกันไป ด้วยกันทั้งหมด ถึงต้องควรเรียกรวมกันมาตั้งแต่ บ้าน, ตำบล, คาม, นิคม, ประเทศ และชนบท ประชุมชนทั้งนั้น ก็เป็นหมู่ชนนั้น ๆ “นิคม” ด้วยตัวชื่อ ก็คือชื่อนั้น เป็น นาม เรียกประกอบ เป็นคำอนุโลมบท แทนชื่อ ไว้กำหนดอธิบาย ตกเป็นคำกล่าวในหมู่คำ ของคำ ในจำพวกนี้ 
นิคม -.
ทั้งหมด จึงจะต้องได้ความทั้ง ๒ อย่าง, คืออัน ๑ ว่า คำสังเขปทางหนังสือตำรา หรือคำบอก ฉะนั้น ก็ว่า นิคม! ถึงอีกอันว่า ตัวร่างร้าน เรือนชาน ที่เกิดพอสังเขป จะเป็นเมือง เป็นชุมชนขึ้น ปรากฏเค้าลางจะให้วัฒนา แล้ว ก็จึงว่า นิคม! เป็นตามทั้งหมด ดังนี้ ถึงจะเป็นการพิจารณาได้ว่า จะใช้คำว่า “นิคม” ให้เกิดคุณศัพท์วิเศษทางความหมาย ไปที่ใด หรือว่าจะใช้ไปในจิต จรดบทคิด วิตกบทตรึกตรอง ไปถึงประโยชน์จำนัล ในถ้อยความของประโยคใด

0 comments:

แสดงความคิดเห็น