ถูกรสถูกใจ (๗๐๓)

ถูกรสถูกใจ ว. คำแก่นาม “อาการเสริมไปซึ่งคุณศัพท์แก่ กิริยาวิเศษ ความว่า “ถูกรสถูกใจ” ฉะนั้นปรากฏแล้ว ควรจะให้ได้ขอเสนอปรับปรุงกัน แก้ไขเพิ่มเติมกันไปจากข้อที่แล้ว (แจ้งความลำดับ ๗๐๒ นั้น คำว่า “อร่อย”), โดยที่เรา, ท่าน หรือใครก็ไม่รู้ว่าจะหาหลักฐานไปถึงไหนเหมือนกัน เพราะไม่ได้เป็นผู้ที่มีความชำนาญ ที่จะเข้าใจศัพท์ไปทั้งหมด ตลอด สิ้นทุกอย่าง ถึงคำนี้เอง มีอยู่แล้ว ก็ยังแจ้งอยู่, แต่ถ้าหากให้คิดไปว่า ไปถึง หรือพูดความ ว่าเฉพาะส่วนตัว จากความคิด ความรู้ ด้วยตนเองตามหลักพิจารณาแบบพื้นฐาน ซึ่งควรมีพอ อยู่แล้ว, ก็เห็นว่า อาจจะถูก แลอาจจะพอมีคนผู้ที่มีใจดี เข้ามาสาธยาย กล่าวออกมาให้ทุกคนถูกใจคิด ได้ และให้พวกเราได้คิดดี ๆ ต่อไปได้, เช่นนั้น ก็อยากจะให้พูดเสียว่า ถูกรสถูกใจ! ดี อันจะได้เป็นที่พอใจ ถูกเรื่องแก่เรา แก่เขา ก็ควรอยู่บ้างดอกกระมัง ถึงกระทำมา”
ตัวอย่างการใช้งาน : “ความที่แจ้งแก่ความหมาย ฉะนั้น, อันทางจะว่า อร่อย จะเป็นทางต่ำนัก ก็ไม่ใช่ ซึ่งอย่างที่ฝรั่งแปล ก็อาจเข้าที ก็ไม่เสียเกินนัก ซึ่งข้าพเจ้าก็เคยได้ยินว่า ฝรั่งเขาแปล ความแห่งคำว่า อร่อย! ว่า ควรกินอีก, ควรมีอีก ว่าอาทิ แล้วจึงว่า เป็นความหมายแก่ข้อความฉะนั้นเอง, แต่คนไทย ตามส่วนของเรา ว่า อร่อย นั้นแปลว่า “เฮ้! อ่ะ! มันจะหมด”, และคิดว่า “จะหมดแล้ว ๆ” เป็นต้น, ว่านั้น คือ ร่อย! อาการร่อย คือพร่อง คือร่อยหรอลง จะหมด แล้วก็ว่าไม่ดี, คือ ความที่ใจว่า อร่อย? ว่ามันจะหมด แต่ว่าใครจะอร่อยแก่อะไร ก็แล้วแต่คนนั้นคิดจะค้นหาสุจริต รับผิดรับชอบไปได้เอง, ตัวอย่างความหมาย ท่านว่าอย่างนี้ คือ สาธุ เหมือนกัน แต่ไพล่ความกันอยู่ว่า ปาลีศัพท์ นั้น ถ้าอร่อย ว่า สาทุ! อาจไม่ดีนัก (แปลว่า อร่อย), อันซึ่งคำว่า ทุ! สำหรับหูคนไทยแล้ว คำนี้ คำเดียว เป็นคำไม่ดี ฟังดู อาจจะว่าความอร่อย นั้น มีชั่วแฝงอยู่หน่อย ก็ได้, คือหมายความว่า ใครกิน ใครเสพอะไรชอบใจ มักปากพล่อยนัก ก็จะขืนพูดแต่ว่า อร่อย! ๆ ไม่ยั้งคิด ไม่ระงับ หรือหาคำอธิบายตามความที่ไม่สม ไม่มีคุณธรรม และมารยาทที่น่าสรรเสริญ ตามที่กิน ที่อยู่ ที่ใช้สอย เสพสุข สมพอดีแล้ว แต่ว่าก็ไม่ควรจะพูด ไปในวงชน แก่คนที่มีความเป็นอยู่ และมี ก็แต่ความคิดที่ไม่เห็นแก่ความเอร็ดอร่อย (อ่ะ!จะหมด), ซึ่งความว่า อร่อยฉะนั้น จะต้องหาทราบให้ได้ ว่าเป็นธรรมสัปปายะแบบใด แก่คนสิ้นทั้งปวง”
ที่มา : “เมื่อจะอ้าง ว่าความอร่อย ในอย่างดี นัยที่เป็น ที่พึงแก่ใจคน ได้พิจารณาแล้ว จะต้องบอกว่า สมความอันเป็นที่สบาย เป็นที่ถูกรสถูกใจ เป็นรสซึ่งเจริญ อาจให้ถึงธรรมแก่ที่สัปปายะ ได้, อย่างนี้จึงอาจโมทนา ว่า สาธุ (ชอบแล้ว ๆ), แล้วเป็นความอันพูดแล้วไม่ต่ำชั้นนัก แล้วก็ไม่ต้องกลัวว่าจะหมด ซึ่งเพราะความเป็นอย่างคนป่า คนเถื่อนนั้น ๆ มุ่งแต่อร่อย เมื่อเกินไปจากภาระกิจจำเป็นแล้ว ไปแต่เรื่องนี้ทีเดียว ซึ่งจะกลัวเสื่อม กลัวหมดซึ่งกามบริโภคอยู่แค่นั้นเอง (กลัวว่าจะบกพร่อง จะร่อยหรอ) โดยที่ไม่คิดไม่ทำอะไร ให้ตัวเองเป็นคนที่มีใจประเสริฐขึ้นมา อย่างใครคนอื่นเขาบ้าง”

0 comments:

แสดงความคิดเห็น