skip to main |
skip to sidebar
มิจฉาวณิช น. แปลว่า เป็นการค้าที่ผิด และไม่ชอบธรรม ซึ่งอันอย่างนี้ จะให้เกิด แนวคิดแนวทางแก่ชีวิต จิตใจ ไปสู่การเป็นพาล และคนอธรรม, ซึ่งเป็นอย่างแก่พวกมิจฉาทิฐิ ประพฤติตน ตั้งตนไว้มิชอบ อยู่ในมิจฉาอาชีวะ ตลอดไปจนถึงเป็นมิจฉาวายามะ อันที่มีความเพียรพยายามไปโดยตลอด ทุกเมื่อ ทุกเวลา ในกิจการ นั้น ๆ, ที่ซึ่งสรุปว่า เป็นด้วย อันที่เป็นการพาณิชย์ ที่ไม่ควรจะเอามาเป็นเศรษฐกิจ อันซึ่งไม่อาจจะสอดคล้องกับการพัฒนาตน จรรยามารยาทอย่างดี และการพัฒนาจิตใจอย่างดี ตามแนวทางที่หลักทางศาสนาให้การยอมรับ และได้พิจารณาเห็นดีชั่วอย่างถ่องแท้ ทุกแง่ ทุกมุมแล้ว (วณิชชา อันใดผิด ว่า มิจฉาวณิชชา เมื่อพูดสั้นลง ว่า วณิช)
ตัวอย่างการใช้งาน : “ขอพูดอย่างเป็นทางการ ในเรื่องแบบนี้ ว่า”., “เรื่องอย่างทางการ ที่จะขอพูดไว้บ้าง อย่างหนึ่ง เช่นว่า การกำจัดปลวก! หรือบริษัทกำจัดปลวก! อะไร!ว่าชื่ออย่างนั้น ซึ่งเป็นเรื่องไม่เป็นศีลธรรม ให้ต้องวางแนวกันไป เพราะกรรม!คือคำพูดและเขียนก็ยังไม่เป็นศีลธรรม ตลอดทั้งไม่พูดไปในศีลธรรม ซึ่งยังต้องให้ประกาศออก, ที่ซึ่งอาจน่าจะบอกว่า เป็นการ หรือเป็นบริษัท หรือกลุ่ม ของการจำกัด (ไม่ใช่จะกำจัด ไปซะหมด) และจัดการ สัตว์ก่อรำคาญที่ควรควบคุม โดยวิธีการ หรือด้วยวิธีที่ได้คิดค้น และได้วิจัยมาแล้ว ต่าง ๆ โดยที่ไม่เป็นอันตรายแก่โลก และระบบของการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ”., “แต่ว่า! ชื่อนั้น หรือว่า หลักการ ตามนั้น เป็นการตั้งใจว่า จะกำจัด หรือ หรือตั้งใจว่าจะต้องฆ่าเอาซะเลย, ซึ่งคำจะต้องฆ่า! ว่าแล้ว ไม่อาจจะให้ถูกต้องได้ ไปตลอดทั้งวาทะ และแนวทางที่จะคิด ของบรรดาผู้คน นั้น ที่อาจเป็นนักธรรมะ แบบชาวพุทธ เพราะว่า ทั้งหมดไม่อาจจะยินยอมต่อบทบาท ในการที่จะพัฒนาตน ไปด้วยวิธีการแบบนั้น”., “เหตุเสมือน เป็นที่ซึ่งเปรียบว่า เป็นดั่งการสมัครใจ ก่อความเดือดร้อน วิวาทบาดหมาง ให้เกิดแก่บรรดาสัตว์ ทั้งปวง ที่อยู่ในธรรมชาติ อยู่นั่นเอง, ซึ่งหากว่าใครได้รับเงิน รับทอง คิดค่าจ้าง ซะด้วย ว่าสัตว์ควรถูกควบคุมไม่ให้เกิดความรำคาญ ได้ฆ่าแล้ว กำจัดแล้ว จะต้องเอาเงินมา, หากว่าใครคิดไปถึงการฆ่า อย่างแน่นอนแล้ว ก็ต้องให้ชื่อว่า เป็นพวก เป็นพฤติการณ์ เป็นกิจการ แก่ความเป็นถึงผิด มิจฉาวณิชเป็นอธรรม ที่ใคร ๆ ก็ไม่ควรจะตั้งกระทำ หากหวังว่า เศรษฐกิจของเรา และการเงินของเรา โดยทั้งหมด ควรจะต้องเป็นไปในทิศทางที่สุจริต”
ที่มา : อ้างอิง พระพุทธศาสนา, ถามว่า มีอาชีวะอย่างไร แก้ว่า ละเว้นการค้าขายที่ผิด ๕ อย่าง (—พระสุตตันตปิฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๒ หน้า ๓๓๔, ๓๓๕ พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล โดย มหามกุฏราชวิทยาลัย), มิจฉาวณิชชา คือการค้าขายไม่ชอบธรรม ๕ อย่าง ๑. ค้าขายเครื่องประหาร ๒. ค้าขายมนุษย์ ๓. ค้าขายสัตว์เป็น สำหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหาร ๔. ค้าขายน้ำเมา ๕. ค้าขายยาพิษ การค้าขาย ๕ อย่างนี้ เป็นข้อห้ามอุบาสกไม่ให้ประกอบ (—หนังสือนวโกวาท), trades which should not be plied by a lay disciple (—84000.org), Following the Five Precepts also implies shunning the five kinds of occupation forbidden to a lay Buddhist: trading in arms, in human beings (i.e., including slavery and prostitution), in flesh (i.e., breeding animals for slaughter), in intoxicants, and in poisons (—accesstoinsight.org).
0 comments:
แสดงความคิดเห็น