พระคฑา (๖๔๔)

พระคฑา ว. คฑา หรือ “พระคฑา” เป็นคำนามวิเศษ แปลว่า “กระบองจินดา” หรือ พระท่อนอาญาสิทธิ์ ฉะนั้น
ตัวอย่างการใช้งาน : คำว่า “พระคฑา” คำนี้ ควรแปลว่า “พระกระบองท่อนอาญาสิทธิ์” และไม่ควรจะให้ใครเรียกว่า “คทา” ซึ่งเป็นคำเก่าที่อาจมองด้วยความรู้สึกแล้ว รู้สึกว่า “ทื่อ และหยาบ ซึ่งเป็นคำชนิด แบบอย่างของไม้ตีพริก เท่านั้น”, แต่ว่า “คฑา” ว่า พระท่อนอาญาสิทธิ์ ว่าไม่ใช่ว่าคนจะแต่งเอง แต่นักเขียนนักอ่านที่ลงใจไปในสมัยเก่า น่าจะได้คิดบ้าง รู้สึกตรง ๆ ส่งใจให้ประชาชนได้สิ่งสวยสิ่งดีบ้าง เพราะคำว่า “คฑา” นั้น น่าจะได้เป็นบัญญัติ ที่ผ่อนลง มาจาก คำว่า ภาคัฒฑะ ผ่อนลง สั้นเข้าแล้ว จึงว่า “คัฒฑะ” พูดประกอบความสมบูรณ์เป็นคำเดียว ว่า คัฑฒะ ต่อมา จึงว่า คัฑฒา เสียง ท (ทอ) นั้นรวมกันเข้า เลือนไปตัวหนึ่ง เป็นอัน ว่า “คฑา” คือ กระทำจาก ต้นรากความหมาย จะไป ฉะนั้น พึงที่คนดี ๆ จะให้ความหมาย ค (คอ) อักษร ร่วมกับคำว่า อัฑฒะ มาแล้วนั้นเอง จึงจะเป็น วุทธิวิเศษ ของคำไปดั่งนี้ ซึ่งพูดเสียง ลงใจไปสิ่งซึ้ง เป็นความอ้างมาซ้อน ๆ กัน ฉะนั้น คนอย่าได้มัวว่า เป็นคำผิด ซะหมด ในเมื่อจะบัญญัติแล้ว จงได้อนุโลมตามความนิยมไปเถิด ให้ได้ไปถึงที่วิเศษที่ดีกว่า ซึ่งว่า “คฑา” คำฟังแล้ว จะแปลว่า “กระบองจินดา” ก็ยังได้ แต่ส่วนคำว่า “คทา” นั้น ค่า เป็นแค่ไม้ค่าไม้คบ เป็นชนิดที่หยาบ ที่ไม่เกินค่าไปกว่าไม้ตีพริก แลถึงใครจะว่า อาจได้เป็นของอย่างเทพก็ตาม แต่คำว่าตะบองนั้น ก็เป็นแค่ ของเทพชั้นบริวารอยู่แค่เท่านั้นเอง ไม่อาจจะเรียกว่าไปถึงชั้นของเทพวชิราวุธ ซึ่งอาจจะต้องว่า เป็นคฑา (ภาคัฑฒะ) นั่นเอง จึงควรกล่าวแก่ขององค์สมเด็จพระจอมทัพ
ที่มา : เรื่องจาก คำว่า “พระคฑา” นี้ คำนี้ชะรอย เห็นทีจะปรักปรำ ให้เห็นเป็นผิดไปหมด แต่ที่จริงควรน่าจะเพิ่มเติมเข้ามา, จึงจะไม่ให้เห็นเป็นที่น่าอนาถใจ แล้วได้ดีบ้าง ด้วยจะได้ซึ้งดี เพราะดีว่า, เพราะว่า จะให้ได้เขียนว่า พระคฑา นั้น ก็จะได้ความไพเราะ ไปให้ถึงดีกว่า และให้ได้รับไปซึ่งความสวยงาม เป็นพิเศษ ได้, ผิดกับคำว่า “คทา” นั้น ซึ่งอ้างว่า เป็นคำถูก แต่ซึ่งเป็นคำทื่อ ๆ ไม่ได้ ผ่านการโยงใยให้ใจ ไปถึงความวิจิตรกับอักษรอันเพริศแพร้วอะไร มากนัก, เพราะถ้าจะให้แค่คำว่า “คทา” แล้ว ย่อมเป็นคำพื้น ๆ อย่างมาก จะแปลวิเศษอย่างดี ก็คงไปอยู่แค่คำว่า “สากกะเบือ!” ว่าลงสวยสุดแค่เท่านั้น ได้แล้ว ก็จะได้ไม่มาก, จึงว่า คำว่า “พระคฑา” นั้น ไกลกัน และผิดกันลิบลับ กับ คำว่า “คทา” ซึ่งเขียนไม่เหมือนกัน, เรื่องนี้แล้ว ดีแต่จอมนักปรักปรำ มีอยู่เสมอ ๆ เท่านั้น ที่มักจะกล่าวด่าว่า คำดี ๆ ที่ให้มีความเพริศแพร้วเช่นนี้แล้ว (คฑา) ได้กลายเป็นคำผิดไปซะมาก ต่อมาก โดยที่เขาไม่ยอมคิดพิเคราะห์ ว่า ทำไม? ผู้คน และประชาชน จึงชอบเขียนไปเช่นนั้น สวยงาม, ด้วยเห็นว่า เพราะ คำว่า “พระคฑา” กับคำว่า “สากกะเบือ” อันนั้นจะต้องว่า “คทา!” นั้น เป็นตะบอง, พูดเปรียบฟัง เห็นกันตอนนี้ ก็ยังเห็นรู้สึกต่างกันอยู่แล้ว, กะอัน ที่ความย่อมจะส่งให้เป็น และได้ และดูมีความวิจิตรเพริศแพร้ว ไปแตกต่างกัน, ซึ่งต่างกัน เพราะว่า ความหยั่งลงที่ซึ่งพิเศษ จากจิตใจดวงวิเศษของคนนั้น ๆ สืบค้น ผ่านความเร้นลับได้เอง โดยที่อาจไม่ต้องผ่านเครื่องมืออย่างหยาบ แล้วเขารู้สึกได้ แล้วเขาถึงจะรู้สึกว่า คฑา (ใช้ ฑ นางมณโฑ ปรากฏ) นั้น จึงควรเรียกว่า พระคฑา ส่วนอันไม้ตีพริก อันนั้น คือ คทา! (ใช้ ท ทหาร ปรากฏ) นั้น จึงควรเรียกว่า กระบอง หากใช่สากกะเบือ ก็เรียก หากใคร่ด้วยผู้ใด จะเขียนคำแปล เช่นนั้นแล้ว “คทา” สะกดกล้ำด้วย ท ทหาร ควบลงฉะนั้น ควรที่จะแปลว่า “ไม้ตีพริก” เป็นชนิดขนาดที่เรียกว่า กระบอง.

0 comments:

แสดงความคิดเห็น